กิ่งตายาง RRIM 2025,3001,ขายยางบัดดิ้งปลูกเมล็ดในถุงดำด้วยขุยมะพร้าว,บัดดิ้งสามรากแก้วในต้นเดียว,ขายกล้ายางตาเขียวมาเลเซีย RRIM 2025 3001,,ยางชำถุง ,ยางตาเขียว,ยางพันธ์ 2025 3001 MALAYSIA ,
กิ่งตายาง,ยางชำถุง,ยางตาเขียว,ยางพันธ์ 2025 3001 มาเลเซีย เข้าดูรายละเอียดได้ที่ http://pet-3001wood.webiz.co.th/ ขณะนี้ มีกล้ามะพร้าวพันธ์ดีจำหน่าย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สอบถาม 087-9777059 086-6232895 ราคายางอาจมีการเปลี่ยนเปลง หากท่านใดอยากทราบข้อมูลการการปลูกเมล็ดในแปลงแล้วติดตาภายหลัง และความแตกต่างระหว่างยาง 2025 กับ 3001 ไม่อยากให้ท่านเสียโอกาสที่จะได้พันธ์ยางที่ท่านต้องการ หากท่านยังไม่แน่ใจ กว่าท่านจะรู้ว่ายางที่ท่านปลูกนั้นไม่ใช่ยางที่ท่านต้องการ ทั้งเสียเงินเสียเวลาเสียความรู้สึก เรื่องยาง 2025 3001 ไม่มีใครหลอกใครความไม่รู้ต่างหากที่หลอกเราให้ส่ง mail มาที่ [email protected] พร้อมเบอร์ติดต่อ แล้วผมจะส่งรูปภาพการเจริญเติบโตของยางที่ติดตาโดยการปลูกเมล็ดแล้วติดตาภายหลังให้ครับ ยินดีให้คำปรึกษา Facebook: pornchai noimanee ขณะนี้กระผมได้ปลูกเมล็ดยางในถุงดำด้วยขุยมะพร้าวผสมกับเบนโทไนท์ หรือ แร่ดินเหนียวเพื่อจำหน่าย และรับสั่งจองเพื่อปลูกในปี 56 แล้วตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป มีจำนวนจำกัดครับ ราคา RRIM 2025 3001 (บัดดิ้งตาเขียว) 65 บาท ไม่รวมค่าจัดส่ง ราคา RRIM 2025 3001 (ตาเขียว) 29 บาท ไม่รวมค่าจัดส่ง ราคา RRIM 2025 3001 (บัดดิ้ง 1 ฉัตร) 75 บาท ไม่รวมค่าจัดส่ง ราคา RRIM 600 (บัดดิ้งตาเขียว) 50 บาท ไม่รวมค่าจัดส่ง ราคา RRIM 600 (บัดดิ้ง 1 ฉัตร) 60 บาท ไม่รวมค่าจัดส่ง ราคา RRIM 2025 3001 (บัดดิ้ง สามรากแก้ว) 150 บาท ราคา ต้นตอ (บัดดิ้ง) 30 บาท เป็นการเพาะเมล็ดยางในถุงด้วยขุยมะพร้าวผสมกับเบนโทไนท์ หรือ แร่ดินเหนียว และใช้เมล็ดยางพาราทำต้นตอ จะไม่ใช้ยาง 600 ทำต้นตอ ท่านใดต้องการสั่งจองยางบัดดิ้ง 2025 3001 สั่งจองได้แล้วครับมีจำนวนจำกัด หมดแล้วก็ต้องรอไปอีก 1 ปี ดูรายละเอียดการปลูกเมล็ดในถุงได้ที่ http://pet-3001wood.webiz.co.th/ หากท่านใดสนใจจะเยี่ยมชมแปลงปลูกก่อนที่ท่านจะตัดสินใจว่าจะเลือกยางพันธุ์อะไรดี ยินดีพาท่านเยี่มชมสวนครับ ไม่ต้องไปถึงมาเลฯครับ ยืนยันว่าท่านต้องพอใจกับยางของเราแน่นอน จังหวัดประจวบฯ ครับ ขอแจ้งท่านที่ต้องการจะปลูกยาง 2025 3001 มาเลฯ ท่านต้องดูให้ดีเสียก่อนว่า เป็นพันธ์ 2025 3001 จริง ซึ่งจะเป็นเรื่องยากสำหรับมือใหม่ครับ อย่าให้เสียโอกาสดีๆ อย่าเชื่อคนที่ขายยางให้กับท่านอย่างเดียว ท่านควารที่จะศึกษาข้อมูลให้ดีเสียก่อน หากไม่แน่ใจอย่าเสี่ยงครับ หรือถ้าอยากให้แน่ใจท่านต้องตรวจสอบสินค้าก่อนครับ ผมยินดีให้ข้อมูลและให้คำปรึกษากับท่านทุกคนครับ ภัยพิบัติ จาก ยางพาราไม่มีรากแก้ว ขอเตือนล่วงหน้า เพราะใช้ต้นยางที่ไม่มีรากแก้ว
คุณเลิศสิน รักษาสกุลวงศ์ ผอ.กองธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม บอกว่า การเปลี่ยนแปลงป่าธรรมชาติ ที่มีพืชหลายพันธุ์ ซึ่งรากพืชช่วยให้ชั้นดินมีความเสถียร ไปปลูกพืชเชิงเดี่ยวโดยเฉพาะยางพารา ที่ใช้วิธีปักชำต้นไม้ ทำให้ต้นยางไม่มีรากแก้ว พอถูกน้ำกัดเซาะลงใต้ราก ก็พังทั้งดินทั้งต้นยาง นี่คือต้นเหตุความหายนะของสวนยางหลายแสนไร่ในภาคใต้ จากการส่งเสริมของรัฐบาล
แล้วเราจะแก้ไขปัญหานี้ได้อย่างไร
คำตอบมีมากมาย เช่น ยางพารา ทำอย่างไรจึงจะสร้าง "พันธุ์ยางที่มีรากแก้ว" มิฉะนั้น ชาวสวนยางก็ต้องนํ้าตาเช็ดหัวเข่าอีก เมื่อต้นยางที่ฟูมฟักมา 6-7 ปี เจอนํ้าท่วมล้ม พายุถล่ม โค่นล้มไปต่อหน้า เพราะไม่มีรากแก้วยึดเหนี่ยว. เทคนิคการเพาะกล้ายางพาราแบบใหม่ การเพาะกล้ายางแบบเก่า ใช้ดินเป็นหลักมีข้อด้อยหลายประการ เช่นดินหักท่อน ดินแน่น ดินเปลี่ยนรูปทรงเมื่อดินเปียกทำให้รากขาดเสียหาย มีเชื้อโรคในดินทำให้ยางวัยอ่อนติดเชื้อตายได้ง่าย ความเป็นกรดสูงเมื่อใส่ปุ๋ยเคมีทำให้เจือจางได้ยาก หลายๆปัญหาเหล่านี้ เกิดขึ้นในยางชำถุงด้วยดิน มีอัตราการตายสูง และเติบโตช้า วัสดุเพาะใหม่ น้ำหนักเบา ที่ปราศจากอาหาร,เชื้อโรคต่างๆ สามารถชะล้างความเป็นพิษจากเคมีได้ง่าย และที่สำคัญสามารถลดน้ำหนักได้เมื่อต้องการด้วยการงดการให้น้ำ จะลดน้ำถุงเพาะชำได้ 1 ใน 4 ส่วนของน้ำหนักทั้งหมด ข้อดีของวัสดุเพาะใหม่ ไม่แน่นทึบเหมือนดิน โครงสร้างโปร่งเบา น้ำซึมทะลุได้อย่างรวดเร็วไม่ตกค้าง อากาศผ่านเข้าออกบริเวณรากได้คล่องกว่า ทำให้รากงอกได้เร็ว ชักนำให้ตายางแตกได้เร็วกว่าในดิน เหมาะแก่การขนส่งไกลๆ รากไม่ขาดง่าย เบาเหมาะแก่การปลูกยางในพื้นที่สูง พื้นที่ลาดชัน และที่สำคัญสามารถบำรุงเร่งต้นยางให้เติบโตได้เร็วมาก ปลูกยางต้นโตๆ เปอร์เซนต์การรอดสูงกว่า ยางต้นเล็ก ดูข้อมูลได้ที่ http://www.hinlotom.com/wizContent.asp?wizConID=79&txtmMenu_ID=59 ดร. มงคล ต๊ะอุ่น นักวิทยาศาสตร์ เชี่ยวชาญ จากภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เผยว่า เมื่อมีการส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกยางพาราในภาคเหนือ และภาคอีสาน โดยเฉพาะในภาคอีสานนั้น ปัญหาหนึ่งที่พบมากก็คือการเหี่ยวตายของต้นกล้ายางพาราในระยะการปลูกช่วง 1-2 เดือนแรก เนื่องจากต้นกล้ายางพารา ไม่สามารถทนแล้งได้ดี เพราะรากของต้นกล้ายางพารายังไม่ยาวพอที่จะช่วยดูดซึมน้ำ ซึ่งเดิมทีเกษตรกรบางรายได้นำแร่ดินเหนียว หรือเบนโทไนท์ ที่มีคุณสมบัติอุ้มน้ำได้ดี หาซื้อได้ตามร้านค้าวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้างทั้วไป มาผสมกับวัสดุอินทรีย์ในท้องถิ่นประเภทต่างๆ เช่น ขุยมะพร้าว แกลบดำ ขี้อ้อย เปลือกถั่ว และ แกลบดิบ นำมาเพาะต้นกล้ายางพารา ทำให้ต้นกล้ามีความทนแล้งได้ดี แต่ก็มีปัญหาอัตราการใช้ ที่ไม่เหมาะสม จึงมักทำให้ต้นกล้ายางพาราตายได้ ดังนั้นเป้าหมายของการศึกษาจึงเป็นการวิจัยเกี่ยวกับการทนแล้งของต้นกล้ายางพาราโดยการประยุกต์ใช้สารปรับปรุงคุณภาพ คือ แร่ดินเหนียวเบนโทไนท์ร่วมกับวัสดุปรับปรุงดินในท้องถิ่น การให้ธาตุอาหารให้ถูกกับชนิดดิน อัตราที่เหมาะสม ชนิดพันธุ์ยางพารา อายุ และช่วงเวลาที่เหมาะสม
นายธนพงศ์ ตุลา นักวิชาการเกษตร กล่าวต่อว่า กระบวนการศึกษาวิจัย ในครั้งนี้ ทีมนักวิจัยได้ นำเบนโทไนต์หรือแร่ดินเหนียว ที่มีในอัตรา 0 ถึง 16 % โดยน้ำหนักเมื่อผสมกับวัสดุอินทรีย์ ที่ระยะเวลาผ่านไป 2 วันหลังให้น้ำในระดับที่อิ่มตัวด้วยน้ำ พบว่าการผสมกับขุยมะพร้าวสามารถอุ้มน้ำมากที่สุดรองลงมาได้แก่ แกลบดำ,ขี้อ้อย,เปลือกถั่วและแกลบดิบโดยมีความชื้นตั้งแต่ 134 – 205 %, 130-154 %, 72-94%,31-64%, และ 23-61% เมื่อเวลาผ่านไป 14 วันเหลือความชื้นอยู่ระหว่าง 46.8-100.8 %,86.0-96.3 %,41.6-57.2 %, 10.2-20.4%,และ 3.6-19.4% ตามลำดับ ซึ่งนั้นก็แสดงว่าหากแนะนำให้เกษตรกรเพาะต้นกล้ายางพาราด้วยขุยมะพร้าวที่ผสมกับเบนโทไนท์ หรือ แร่ดินเหนียว ในปริมาณที่เหมาะสมตามผลการวิจัยจะสามารถช่วยเพิ่มความทนแล้งให้กับต้นกล้ายางพาราที่ปลูกในพื้นที่ภาคอีสานได้ และ ลดอัตราการตายของต้นกล้ายางพาราในการปลูกระยะ 1 ถึง 2 เดือน แรก ดูข้อมูลได้ที่ http://www.news.kku.ac.th/kkunews/content/view/3523/59/ การปลูกเมล็ดยางในถุงดูข้อมูลได้ที่ http://www.rubber.co.th/knowledge_1w.html ดูรูปยาง 3001 ในประเทศมาเลฯได้ที่ http://www.ciflorestas.com.br/conteudo.php?a=impressao&id=1211 ที่มาเลเซีย ซึ่งถือว่า เป็นประเทศที่มีการพัฒนาสายพันธุ์ยางพารา และปาล์มน้ำมัน ระดับแนวหน้าของโลกประเทศหนึ่ง ที่นั่นเขาพัฒนาสายพันธุ์ไปไกลมากแล้ว ถึงพันธุ์อาร์อาร์ไอเอ็ม 3001 แล้ว ของเราเตอะแตะๆอยู่ที่ 600 และสายพันธุ์อาร์อาร์ไอเอ็ม 600 ที่ว่านี้ ทางมาเลเซียห้ามปลูกแล้วครับ เพราะผลผลิตต่ำ โรคระบาดง่าย แต่ของเรานั่นยังสนับสนุนอยู่ และมีเกษตรกรปลูกกว่า 80 % ของพันธุ์ยางในประเทศไทยตอนนี้นอกจากจะมีการพัฒนาสายพันธุ์ไปไกลแล้ว วิธีเการเพาะกล้ายาง ก็ต่างจากบ้านยเรา เพราะเขาต้องประหยัดพลังงาน ซึ่งวิธีการเพาะกล้ายางที่ว่านี้ ก็มีการลงตีพิมพ์ในหน้าเกษตร "คม ชัด ลึก" ฉบันวันนี้ (13 ก.ค. 53) โดยปกติดการติดตากล้าพันธุ์ยางพารานั้น จะใช้เพาะเมล็ดลงในแปลง พออายุได้ 8 เดือนจึงจะมีการติดตาเขียวของยางพาราพันธุ์ดี แต่สำหรับผู้ประกอบการเพาะกล้าพันธุ์ยางพารารายใหญ่ในประเทศมาเลเซีย อย่างที่ "รีวันเนอสรี" ซึ่งตั้งในพื้นที่กว่า 10 ไร่ ติดถนนจีเนียง กม.9 เมืองยัน รัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซีย ใช้เพาะเมล็ดในถุงยางสีดำ แม้จะเปลืองพื้นที่ แต่มีข้อดีคือรวดเร็ว สะดวก เพียง 6 เดือนสามารถติดตาได้แล้ว โดยรากแก้วไม่ต้องตัดออก เหมาะสำหรับการปลูกยางในพื้นที่สูง และการเจริญเติบโตก็ดีตามไปด้วยและที่สำคัญการตัดรากแก้วออกอย่างที่ทำกันทั่วไปนั้น ทำให้ต้นยางไม่แข็งแรง เมื่อเจอพายุมาทำให้ต้นยางพาราล้มได้ ล่าสุดจึงทดลองเพาะเมล็ดในถุงดำ ปรากฏว่า เพียง 6-7 เดือนก็สามารถติดตาเขียวได้แล้ว เมื่อติดรอจนแตกกิ่ง ใช้เวลา 8-10 เดือนก็สามารถนำไปปลูกในสวนได้แล้ว ที่สำคัญรากแก้วยังอยู่เหมือนเดิม
อย่างไรก็ตาม การเพาะเมล็ดในถุงดำอาจใช้พื้นที่มากกว่า ตรงที่ต้องเพาะถุงล
ราคา: | 6 บาท | ต้องการ: | ขาย | ||
ติดต่อ: | พรชัย | อีเมล์: | |||
สภาพ: | ใหม่ | จังหวัด: | ประจวบคีรีขันธ์ | ||
โทรศัพย์: | 086-6232895 | ||||
มือถือ: | 087-9777059 | ||||
ที่อยู่: | 29 ม.5 | ||||
คำค้น: | ยางตาเขียวยางพันธ์ | malaysia | กิ่งตายางยางชำถุงกล้ามะพร้าว | กิ่งตา3001 | กล้ายาง2025 | ราคา notebook dell inspiron n 5110 | notebook dell inspiron n5110 | |
ดูสินค้าอื่นๆ | ลงประกาศ | เลื่อนประกาศขึ้น | ลบประกาศ | แก้ไขประกาศ
[ รับจำนอง ขายฝาก บ้าน ที่ดิน ทั่วประเทศ กู้เงินง่าย ได้เงินไว ไม่เช็คแบล็คลิส ]
ประกาศอื่นๆในหมวดหมู่เดียวกัน 20 รายการ (แสดงทั้งหมด)
รูป | รายละเอียด | ราคา | |
440 บาท | |||
0 บาท | |||
0 บาท | |||
19,900 | |||
40 บาท | |||
15 บาท | |||
5,000 บาท | |||
28,000 บาท | |||
1,390 บาท | |||
ไม่ระบุราคา | |||
ไม่ระบุราคา | |||
9,500 บาท | |||
350 บาท | |||
10 บาท | |||
ไม่ระบุราคา | |||
ขอทดลองฟรี | |||
450 บาท | |||
3,950 บาท | |||
28,000 บาท | |||
ไม่ระบุราคา |